บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2018

แบบทดสอบบทที่ 1-12

แบบทดสอบ แบบทดสอบบทที่ 1เรื่องระบบข้อมูลเพื่อการวางแผนการบริหาร แบบทดสอบบทที่ 2 เรื่ององค์การและบุคลากรสารสนเทศ แบบทดสอบบทที่ 3เรื่องคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์(Hardware) แบบทดสอบบทที่ 4 เรื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์(Software) แบบทดสอบบทที่ 5 เรื่องการจัดการระบบฐานข้อมูล แบบทดสอบบทที่ 6 เรื่องระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบทดสอบบทที่ 7 เรื่องระบบประมวลผลรายการและการจัดการรายงาน แบบทดสอบบทที่ 8 เรื่องระบบสารสนเทศสำนักงาน แบบทดสอบบทที่ 9 เรื่องระบบสนับสนุนการตัดสินใจและ ระบบสนับสนุนผู้บริหาร แบบทดสอบบทที่ 10 เรื่องระบบผู้เชี่ยวชาญและปัญญาประดิษฐ์ แบบทดสอบบทที่ 11 เรื่องการพัฒนาระบบสารสนเทศ แบบทดสอบบทที่ 12 เรื่องจริยธรรม มารยาทในการใช้อินเตอร์เน็ตและความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์

บทที่12 จริยธรรม มารยาทในการใช้อินเตอร์เน็ตและความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์

รูปภาพ
สรุปบทที่12 จริยธรรม มารยาทในการใช้อินเตอร์เน็ตและความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นมีกลไกที่ก่อเกิดพฤติกรรมเสมือนสังคมแห่งความเป็นจริงสังคมหนึ่ง เพียงแต่ในบางครั้งผู้ใช้อาจไม่แสดงตัวตน บทบาท หรือปฏิบัติตามแบบแผนทางสังคมอย่างเช่นที่ตนได้ ปฏิบัติอยู่ ดังนั้น การใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจึงประกอบไปด้วยกลุ่มบุคคลที่ซื่อสัตย์ทั้งต่อตัวเอง และต่อผู้อื่น และกลุ่มบุคคลที่มีพฤติกรรมในทางตรงกันข้าม ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตทั้งหลาย ทั้งผู้ใช้งานที่เพิ่งเริ่มรู้จักสังคมอินเทอร์เน็ตและผู้ใช้งานที่มี ประสบการณ์สูง ควรมีแนวปฏิบัติเพื่อป้องกันรักษาตนเองและสังคมแห่งนี้ ให้เป็นสังคมที่ประกอบด้วย กิจกรรมที่สร้างสรรค์มากกว่าทำลาย ตลอดจนเป็นสังคมแห่งการกระจายข้อมูลข่าวสาร ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อการสร้างเสริมปัญญาให้กับมนุษย์สืบไป ข้อพึงปฏิบัติและมารยาทในอินเตอร์เน็ต  1. ในการใช้งานครั้งแรก ควรสอบถามผู้ดูแลระบบถึงข้อกำหนด และระเบียบในการใช้เครือข่ายนั้น ๆ และปฏิบัติตามข้อกำหนดเหล่านั้น 2. ใช้งานเท่าที่จำเป็น 3. ไม่ควรเข้าใช้อินเตอร์เน็ตในบัญชีของผู้อื่น

บทที่ 11 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

รูปภาพ
บทที่  11 การพัฒนาระบบสารสนเทศ ความจำเป็นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1.   การเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารและการปฏิบัติงาน ระบบเดิมไม่สามารถให้ข้อมูลหรือทำงานได้ตามต้องการมีการดำเนินงานหลายขั้นตอน    ยุ่งยากในการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำข้อมูลสรุปสำหรับการติดตามการปฏิบัติงานโดยรวมขององค์การ และไม่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้กับผู้บริหารได้เป็นอย่างดี             2.   การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในระบบสารสนเทศปัจจุบันล้าสมัย    ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบมีราคาสูง เมื่อมีอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนบางอย่างเสียไม่สามารถซ่อมหรือหาอุปกรณ์ทดแทนได้             3.   การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน    ระบบที่ใช้งานอยู่ปัจจุบันมีขั้นตอนการทำงานที่ยุ่งยากซับซ้อนขาดเอกสารอ้างอิงหรือเอกสารที่มีอยู่ไม่ได้มาตรฐาน   ทีมงานพัฒนาระบบ           1.   คณะกรรมการ ( Steering Committee)             2.   ผู้บริหารโครงการ ( Project Manager)           3.   ผู้บริหารหน่วยงานด้านสารสนเทศ ( MIS Manager)           4.   นักวิเคราะห์ระบบ ( System Analyst)           5.   ผู้ชำนา

บทที่ 10 ระบบผู้เชี่ยวชาญและปัญญาประดิษฐ์

รูปภาพ
บทที่  10 ระบบผู้เชี่ยวชาญและปัญญาประดิษฐ์ ระบบผู้เชี่ยวชาญ [Expert Systems (ES)]   คือ  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้ เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง (ทักษิณา สวนานนท์.2539:99) หรือหมายถึงระบบโปรแกรมใช้งาน ( Software systems)  ซึ่งมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในเรื่องของกระบวนการในการใช้เหตุผล ( Reasoning process)  และให้ข้อมูลเกี่ยวกับคำแนะนำแกผู้ที่ต้องตัดสินใจ ซึ่งพบในผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ เช่น ผู้บริหารกลุ่มธุรกิจมีความรู้สึกอย่างไร ระหว่างความเสี่ยงกับอัตราการเจริญเติบโตของการลงทุนในโครงการต่าง ๆ และถ้าลงทุนแล้วจะได้ผลตอบแทนอย่างไร เป็นต้น และหลังจากที่ได้รับคำตอบจากลูกค้าแล้ว ระบบผู้เชี่ยวชาญก็จะถามต่อไปจนกว่าจะมีการแนะนำแฟ้มเอกสาร หลังจากนั้นระบบก็จะดึงฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์สำหรับผู้ใช้มาใช้ ( User)  เช่น รายละเอียดตัวหุ้น ประวัติต่าง ๆ รายงานการวิจัย และการพยากรณ์ทางด้านเศรษฐกิจ ระบบผู้เชี่ยวชาญ ( Expert Tasks)           1.Engineer                     Design                     Fault finding                  

สรุป บทที่ 9 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เเละระบบสนับสนุนผู้บริหาร

รูปภาพ
สรุป บทที่  9  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เเละระบบสนับสนุนผู้บริหาร ระบบสนับสนุนผู้บริหาร ( Executive Support System : ESS)               ประกอบด้วยซอฟต์แวร์ที่ซับซ้อนซึ่งสามารถนำเสนอ  สรุป  และวิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูลขององค์กร  ทั้งยังมีจุดเด่นที่ใช้งานง่าย  ทำให้ผู้ใช้ประหยัดเวลา  สามารถเรียกดูสารสนเทศที่จำเป็นได้โดยไม่ต้องผ่านการฝึกอบรมมาก่อน  ด้วยเหตุนี้จึงมักนำเสนอสารสนเทศด้วยรูปภาพหรือกราฟิก                ตัวอย่างระบบสนับสนุนผู้บริหาร  เช่น  ประธานบริษัทเรียกดูข้อมูลสรุปกิจกรรมจาก   5   แผนก  ได้แก่  แผนกบัญชี  แผนกการตลาด  แผนกบุคคล  แผนกการผลิต  และแผนกวิจัย                ระบบสนับสนุนผู้บริหารช่วยให้ผู้บริหารเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรได้โดยตรง  และมักจะมีระบบสื่อสารที่เอื้อให้ผู้บริหารติดต่อกันได้สะดวก  บางระบบมีความสามารถรับข้อมูลจากฐานข้อมูลภายนอก  เช่น  บริการข่าวธุรกิจ  ทำให้สามารถรับรู้ความเป็นไปของคู่แข่ง  และข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์ถูกออกแบบมาสำหรับช่วยผู้บริหารระดับสูงตัดสินใจ  มีความคล้ายคลึงกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  และระ